วันอาทิตย์ที่ 26 ตุลาคม พ.ศ. 2551

Des présidents de la République française

รายชื่อประธานาธิปดีแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศสสาธารณรัฐที่ 2

(พ.ศ. 2391 - พ.ศ. 2395)



1 หลุยส์ นโปเลียน โบนาปาร์ต(Louis-Napoléon Bonaparte)

20 ธันวาคม พ.ศ. 2391(ค.ศ. 1848) 2 ธันวาคม พ.ศ. 2395(ค.ศ. 1852) 4 ปี


สาธารณรัฐที่ 3
(พ.ศ. 2413 - พ.ศ. 2483)

2 อดอลฟ์ ตีแยร์ส(Adolphe Theirs)

17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2414(ค.ศ. 1871) 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2416(ค.ศ. 1873) 2 ปี


3 ปาตรีซ เดอ มาก-มาอง(Patrice de Mac-Mcmahon)

24 พฤษภาคม พ.ศ. 2416(ค.ศ. 1873) 30 มกราคม พ.ศ. 2422(ค.ศ. 1879) 6 ปี


4 ฌูลส์ เกรวี(Jules Grévy)

30 มกราคม พ.ศ. 2422(ค.ศ. 1879) 2 ธันวาคม พ.ศ. 2430(ค.ศ. 1887) 9 ปี


5 มารี ฟรองซัวส์ ซาดี การ์โนต์(Marie François Sadi Carnot)

3 ธันวาคม พ.ศ. 2430(ค.ศ. 1887) 25 มิถุนายน พ.ศ. 2437(ค.ศ. 1894) 7 ปี


6 ฌอง กาซีมีร์-เปอรีเยร์(Jean Casimir-Perrier)

27 มิถุนายน พ.ศ. 2437(ค.ศ. 1894) 16 มกราคม พ.ศ. 2438(ค.ศ. 1895) 6 เดือน


7 เฟลิกซ์ โฟร์(Félix Faure)

17 มกราคม พ.ศ. 2438(ค.ศ. 1895) 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2442(ค.ศ. 1899) 4 ปี


8 เอมีล ลูเบต์(Émile Loubet)

18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2442(ค.ศ. 1899) 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2449(ค.ศ. 1906) 7 ปี


9 อาร์มองด์ ฟาลีแยร์ส(Armand Fallières)

18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2449(ค.ศ. 1906) 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2456(ค.ศ. 1913) 7 ปี


10 เรย์มงด์ ปวงกาเร(Raymond Poincaré)

18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2456(ค.ศ. 1913) 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2463(ค.ศ. 1920) 7 ปี


11 ปอล เดชาแนล(Paul Deschanel)

18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2463(ค.ศ. 1920) 21 กันยายน พ.ศ. 2463(ค.ศ. 1920) 7 เดือน


12 อเล็กซ็องดร์ มิลเลอรองด์(Alexandre Millerand)

21 กันยายน พ.ศ. 2463(ค.ศ. 1920) 11 มิถุนายน พ.ศ. 2467(ค.ศ. 1924) 4 ปี


13 กาสตง ดูแมร์กู(Gaston Doumergue)

13 มิถุนายน พ.ศ. 2467(ค.ศ. 1924) 13 มิถุนายน พ.ศ. 2474(ค.ศ. 1931) 7 ปี


14 ปอล ดูแมร์(Paul Doumer)

13 มิถุนายน พ.ศ. 2474(ค.ศ. 1931) 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2475(ค.ศ. 1932) 1 ปี


15 อัลแบร์ต เลอบรัง(Albert Lebrun)

10 พฤษภาคม พ.ศ. 2475(ค.ศ. 1932) 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2483(ค.ศ. 1940) 8 ปี ตำแหน่งประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศสว่างลง(พ.ศ. 2483 - พ.ศ. 2490) วิชีฝรั่งเศส (พ.ศ. 2483 - พ.ศ. 2487)ประมุขแห่งรัฐฝรั่งเศส (Chef de l'État Français) ฟิลิป เปแต็ง(Philippe Pétain) 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2483(ค.ศ. 1940) 20 สิงหาคม พ.ศ. 2487(ค.ศ. 1944) 4 ปี

คณะรัฐบาลเฉพาะกาลแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศส (พ.ศ. 2487 - พ.ศ. 2490)

ประธานคณะรัฐบาลชั่วคราวฝรั่งเศส (Président du Gouvernement provisoire de la République française)

ชาร์ลส์ เดอ โกลล์(Charles de Gaulle)

3 มิถุนายน พ.ศ. 2487(ค.ศ. 1944) 26 มกราคม พ.ศ. 2489(ค.ศ. 1946) 1 ปี 6 เดือน

เฟลิกซ์ กูแอ็ง(Félix Gouin)

26 มกราคม พ.ศ. 2489(ค.ศ. 1946) 24 มิถุนายน พ.ศ. 2489(ค.ศ. 1946) 5 เดือน

จอร์จ บิโดต์(Georges Bidault)

24 มิถุนายน พ.ศ. 2489(ค.ศ. 1946) 16 ธันวาคม พ.ศ. 2489(ค.ศ. 1946) 6 เดือน ภาพ:Blum.jpg เลอง เบลิง(Léon Blum) 16 ธันวาคม พ.ศ. 2489(ค.ศ. 1946) 16 มกราคม พ.ศ. 2490(ค.ศ. 1947) 1 เดือน


สาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 4
(พ.ศ. 2490 - พ.ศ. 2502)

16 แว็งซ็องต์ โอรียอล(Vincent Auriol)

16 มกราคม พ.ศ. 2490(ค.ศ. 1947) 16 มกราคม พ.ศ. 2497(ค.ศ. 1954) 7 ปี


17 เรอเน โกตี้(René Coty)

16 มกราคม พ.ศ. 2497(ค.ศ. 1954) 8 มกราคม พ.ศ. 2452(ค.ศ. 1959) 5 ปี


สาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 5
(พ.ศ. 2502 - ปัจจุบัน)

18 ชาร์ลส์ เดอ โกลล์(Charles de Gaulle)

22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2433 – 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2513 (79 ปี)

8 มกราคม พ.ศ. 2502(ค.ศ. 1959) 28 เมษายน พ.ศ. 2512(ค.ศ. 1969) 10 ปี

รักษาการประธานาธิบดี อแลง โปเอร์ (Alain Poher)

17 เมษายน พ.ศ. 2452 - 9 ธันวาคม พ.ศ. 2539 (87 ปี)

28 เมษายน พ.ศ. 2512(ค.ศ. 1969) 20 มิถุนายน พ.ศ. 2512(ค.ศ. 1969) 2 เดือน



19 จอร์จ ปอมปิดู(Georges Pompidou)

5 กรกฎาคม พ.ศ. 2454 – 2 เมษายน พ.ศ. 2517 (62 ปี)

20 มิถุนายน พ.ศ. 2512(ค.ศ. 1969) 3 เมษายน พ.ศ. 2517(ค.ศ. 1974) 7 ปี

รักษาการประธานาธิบดี อแลง โปเอร์ (Alain Poher)

17 เมษายน พ.ศ. 2452 - 9 ธันวาคม พ.ศ. 2539 (87 ปี)

3 เมษายน พ.ศ. 2517(ค.ศ. 1974) 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2517(ค.ศ. 1974) 6 เดือน

20 วาเลรี ยิสการ์ด เดส์แตง(Valéry Giscard d'Estaing)

2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2469 — (82 ปี)

27 พฤษภาคม พ.ศ. 2517(ค.ศ. 1974) 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2524(ค.ศ. 1981) 7 ปี


21. ฟรองซัวส์ มิแตรรองด์(François Mitterrand)
26 ตุลาคม พ.ศ. 2459 - 8 มกราคม พ.ศ. 2539 (79 ปี)

21 พฤษภาคม พ.ศ. 2524(ค.ศ. 1981) 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2538(ค.ศ. 1995) 14 ปี

22. ฌากส์ ชีรัก(Jacques Chirac)

29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2475 — (75 ปี)

17 พฤษภาคม พ.ศ. 2538(ค.ศ. 1995) 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2550(ค.ศ. 2007) 12 ปี

23. นิโกลาส์ ซาร์โกซี(Nicolas Sarkozy)

28 มกราคม พ.ศ. 2498 — (53 ปี)

16 พฤษภาคม พ.ศ. 2550(ค.ศ. 2007) ปัจจุบัน

วันอาทิตย์ที่ 19 ตุลาคม พ.ศ. 2551

La Terreur ยุคแห่งความเหี้ยมโหด

Robespierre
Georges Danton


Robespierre et ses amis Saint-Just et Couthon
คณะปฏิวัติแห่ง 9 Thermidor Year II
Robespierre ถูกประหาร


La Terreur
ยุคแห่งความเหี้ยมโหด


ยุคแห่งความเหี้ยมโหด (The Reign of Terror - 5 กันยายน พ.ศ. 233628 กรกฎาคม พ.ศ. 2337)
ในบางครั้งเรียกในภาษาอังกฤษสั้นๆ ว่า The Terror (ฝรั่งเศส: la Terreur) หมายถึงช่วงระยะเวลาประมาณ 10 เดือนที่เกิดขึ้นในการปฏิวัติฝรั่งเศสจากการพยายามต่อสู้กันระหว่างคู่แข่งสองฝ่ายซึ่งได้นำไปสู่ความรุนแรงด้วยการฆาตกรรมหมู่ด้วยกิโยติน ส่วนใหญ่จะโยงถึง

บุคคลคือ Robespierre และ Georges Danton ซึ่งกลายเป็นตัวแทนหรือสัญลักษณ์ของการปฏิวัติที่รุนแรงทั่วๆ ไป
ความโหดเหี้ยมได้เริ่มเมื่อวันที่
5 กันยายน พ.ศ. 2336 ซึ่งตรงกับรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก การปราบปรามอย่างรุนแรงเพิ่มเริ่มขึ้นในระหว่างเดือนมิถุนายนและกรกฎาคม พ.ศ. 2337

ซึ่งถูกเป็นภาษาฝรั่งเศสว่า "la Grande Terreur" หรือ ความเหี้ยมโหดอย่างที่สุด (The Great Terror) ยุคสมัยแห่งความหวาดกลัวสิ้นสุดลงด้วยการประหารผู้นำของคณะปฏิวัติหลายคนภายหลังจากที่ถูกโค่นล้มโดยคณะปฏิวัติแห่ง 9 Thermidor Year II ในวันที่ 27 กรกฎาคม 1794 โดยเหล่าผู้นำที่ถูกประหารยังรวมไปถึง Saint-Just และ Maximilien Robespierre ผู้ซึ่งกลายเป็นเหยือรายสุดท้ายของยุคสมัยแห่งความหวาดกลัวที่เขาสร้างเอง ประมาณกันว่ามีผู้คนระหว่าง 18500 ถึง 40000 คนต้องจบชีวิตลงด้วยการประหาร
โดยในเดือนสุดท้ายของยุคแห่งความหวาดกลัว มีผู้คนถูกประหารไปถึง 1900 คนหลายคนถือว่าทรราชยุคใหม่เป็นมรดกของ
ยุคแห่งความหวาดกลัวนี้ แต่บางคนก็แย้งว่ามุมมองเช่นนี้เป็นการมองข้ามความสำคัญและอิทธิพลของการปฏิวัติฝรั่งเศส
ในการสร้างประชาธิปไตยและรัฐธรรมนูญยุคปัจจุบัน

วันอาทิตย์ที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 2551

การปฏิวัติ ฝรั่งเศส



พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 (Louis XVI)
การทำลายคุกบาสตีย์(Prise de la Bastille)

การประหารด้วยเครื่องกิโยติน

สมัชชาแห่งชาติ (National Assembly)



การปฏิวัติฝรั่งเศส เหตุแห่งวันชาติฝรั่งเศส 14 กรกฎาคม 1789
อยู่ในช่วงการปกครองของพระเจ้าหลุยส์ที่ 16
เหตุเกิดการปฏิวัติก็คือ
ช่วงนั้นฝรั่งเศสได้นำเงินไปช่วยทำสงครากับต่างประเศ ก็คือ ออสเตรเลีย และอเมริกา
ประกอบด้วยราชสำนักใช้จ่ายเงินมาก การเก็บเกี่ยวไม่เพียงพอ ชนชั้นกลางเห็แนวทางประชาธิปไตยจากนักปรัชญาเมธี และเห็นตัวอย่างการปฏิวัติของอเมริกาและอังกฤษ ด้วยการที่เงินในพระคลังไม่เพียงพอ จึงเรียกเก็บภาษีเพิ่ม
การปฏิวัติจึงเริ่มขึ้น ในวันที่ 17 มิถุนายน เหล่าสามัญชนรวมกันจัดตั้ง
"สมัชชาแห่งชาติ" (National Assembly)
พระเจ้าหลุยส์ที่16ทรงเรียกทหารมารอบกรุงปารีสและพระราชวังแวร์ซายน์ สามันชนเข้าใจผิดนึกว่าจะยุบสมัชชาแห่งชาติ
ดังนั้นวันที่ 14 กรกฎาคม 1789 ชาวปารีสยกขบวน พร้อมตะโกนว่า
เสรีภาพ เสมอภาค ภราดรภาพ
เดินทางไปคุกบาสตีย์การโจมตีคุกบาสตีย์ ในปารีสเกิดขึ้นเมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2332(ค.ศ. 1789) แม้ป้อมปราการและคุกสมัยกลางในปารีสที่เป็นที่รู้จักในชื่อบาสตีย์นี้จะมีนักโทษเพียงเจ็ดคน แต่การล่มสลายของมันได้กลายเป็นสถานการณ์ที่รุนแรงและควบคุมไม่ได้ที่นำไปสู่การปฏิวัติฝรั่งเศส และต่อมามันก็ได้กลายเป็นสัญลักษณ์ของสาธารณรัฐฝรั่งเศส . ในฝรั่งเศส, วัน Le quatorze juillet (14 กรกฎาคม) เป็นวันหยุดราชการ ก่อนหน้านี้มันเป็นที่รู้จักในชื่อ Fête de la Fédération (วันหยุดสหพันธรัฐ). วันนี้มักถูกเรียกว่า วันบาสตีย์ (Bastille Day) ในภาษาอังกฤษ.
หลังจากนั้นพระเจ้าหลุยส์ก็ถูกประหาร ด้วยเครื่องกิโยติน
แล้วก็ปกครองด้วย โรแบส ปิแยร์ ฝรั่งเคศเกิดความวุ่นวาย และวาดระแวงกัน
จนกลายเป็นสมัยแห่งความน่าสะพรึงกลัว ( Reign of Terror)




วันอาทิตย์ที่ 5 ตุลาคม พ.ศ. 2551

ชี้แจงความเป็นไป

ความเป็นไปช่วงนี้ เหนื่อยๆ เรียนกันหัวโต

อัพในช่วงนี้ของอิงเป็นประวัติศาสตร์ นิดส์นึง 555+

ชอบมากเลยย

อารยธรรมกรีก

อารยธรรมโรมัน

สงครามคูเสด
และอื่นๆอีกตามมา จะทยอยอัพแล้วกันเนอะ 555+